ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2016

วันคล้ายวันสถาปนากองบัญชาการ กองทัพไทย

วันคล้ายวันสถาปนากองบัญชาการ กองทัพไทย กองบัญชาการ กองทัพไทย   ( Royal Thai Armed Forces Headquarters ) เป็นส่วนราชการขึ้นตรงต่อ   กองทัพไทย   กระทรวงกลาโหม ซึ่งแปรสภาพมาจาก กองบัญชาการทหารสูงสุด (Supreme Command Headquarter) มีหน้าที่ควบคุม อำนวยการ สั่งการและกำกับดูแลการดำเนินงานของส่วนราชการในกองทัพไทยในการเตรียมกำลัง การป้องกันราชอาณาจักร และการดำเนินการเกี่ยวกับการใช้กำลังทหารตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดมีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ   มีที่ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 127 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 ผู้บังคับบัญชา ปัจจุบันคือ พลเอก สมหมาย เกาฏีระ   ผู้บัญชาการทหารสูงสุด , พลเอก ประสูตร รัศมีแพทย์   รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด ,   พลเอก วิเชียร ศิริสุนทร   รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด ,   พลเรือเอก ประสาน สุขเกษตร   รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด ,   พลอากาศเอก ถาวร มณีพฤกษ์   รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด กองบัญชาการกองทัพไทย ได้ก่อตั้งเป็นกองบัญชาการทหารสูงสุดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2503 ซ

รู้จักกับโรงพยาบาลค่าย : โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ

โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ เป็นโรงพยาบาล ที่ขึ้นตรงต่อ มณฑลทหารบกที่ 31 ในสายการบังคับบัญชา , เป็นหน่วยสายแพทย์ขึ้นตรงต่อ กรมแพทย์ทหารบก ในสายเหล่าสายวิทยาการ ปัจจุบัน พันเอกอนุรัฐ ตันติจารุกร เป็นผู้อำนวยการ ตั้งอยู่ที่  161 หมู่ 1 ถนนพหลโยธิน ตำบลนครสวรรค์ออก อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์ 60000 โทรศัพท์: 0-5632-5120-1 ประวัติโรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ       ไม่มีหลักฐานแน่นอนสำหรับการก่อตั้ง โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ แต่พอประมาณได้ว่าราว ร.ศ. 120 โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติได้ตั้งอยู่ที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 9 ตำบลนครสวรรค์ตก อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ในขณะนั้น เรียกว่ากองพยาบาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2476 และได้ย้ายจากบริเวณอาคารกองพันทหารช่างที่ 4 มาตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ปัจจุบันในเขตตำบลนครสวรรค์ออก อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์      ในที่ดินประมาณ 50 ไร่ อาคาร 6 หลัง ชั้นเดียวใต้ถุนสูง อาคารดังกล่าวทางราชการได้สั่งรื้อไปแล้ว 3 หลัง เพราะชำรุดมาก อีก 3 หลัง ภาพพจน์ที

ช้างกับความสำคัญต่อกองทัพในอดีต

เตรียมตัวตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ากองประจำการ

เตรียมตัวตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ากองประจำการ                                    . ขั้นตอนและวิธีการตรวจเลือก ทหารกองเกินเข้ากองประจำการ (การเกณฑ์ทหาร) ขั้นตอนและวิธีการตรวจเลือก ฯ   ของทหารกองเกิน  ( ขั้นปฏิบัติ)   ในวันตรวจเลือกทหารกองเกิน (วันเกณฑ์ทหาร)   เวลา   ๐๗.๐๐ น.   ทหารกองเกินที่ได้รับหมายเรียก   ( แบบ สด.๓๕)   แล้วทุกคนเข้าแถวตามตำบล   เคารพธงชาติ   ประธานกรรมการตรวจเลือกทหาร ชี้แจงความจำเป็นถึงการตรวจเลือกทหาร   เมื่อประธานกรรมการชี้แจงเสร็จ  กรรมการสัสดีจะชี้แจงถึงขั้นตอนการปฏิบัติในการตรวจเลือกทหาร   รวมทั้งสิทธิต่าง ๆ ของผู้ถูกเข้ารับราชการทหารกองประจำการ คือ ผู้ที่สมัครหรือผู้ที่จับสลากแดงได้   ซึ่งมีขั้นตอนการปฏิบัติ   ดังนี้     ๑.  เตรียมหลักฐานใช้ในวันตรวจเลือก ฯ         -     บัตรประจำตัวประชาชน             -    หมายเรียก ฯ (แบบ สด.๓๕)             -    ใบสำคัญ (แบบ สด.๙)             -   วุฒิการศึกษา  ( ถ้ามี)      ๒.  การตรวจเลือก ฯ จะเริ่มวิธีการพร้อมกันทั่วประเทศ เวลา ๐๗.๐๐ น.         -   มีการเข้าแถวแบ่งเป็นตำบล              -   ทำพิธีเคารพธงชาติ

ทหารกับการช่วยวิกฤติภัยแล้ง

กองทัพบกให้บริการแหล่งน้ำเคลื่อนที่....หากประชาชนต้องการน้ำดื่มและน้ำใช้ สามารถแจ้งได้ตามหน่วยทหารใกล้บ้านท่าน....กองทัพบกยินดีให้บริการพร้อมจัดส่งรถน้ำไปเติมที่บ้านของท่านในทันที

บทบาทของสตรีในกองทัพบกไทย

สังคมไทยในอดีตครอบครัวไทยเป็นแบบ "ผัวเดียวหลายเมีย" หมายความว่า ชายมีสถานะเหนือหญิงในทุกด้าน ในสมัยสุโขทัย ตำหนิชายที่มีชู้กับภรรยาคนอื่น แต่ไม่ห้ามชายมีภรรยาหลายคน ต่อมา ในสมัยอยุธยา กฎหมายลักษณะผัวเมีย พ.ศ. 1904 ยังได้แบ่งภรรยาออกเป็น 3 ประเภท และชายจะมีภรรยากี่คนก็ได้ ทั้งยังมีภาษิตที่ว่า "ผู้หญิงเป็นควาย ผู้ชายเป็นคน"  ซึ่งต่อมารัชกาลที่ 4 ทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยว่าไม่ยุติธรรม ให้ยกเสีย เนื่องจากกรณีถวายฎีกาของอำแดงเหมือน จนกระทั่ง พ.ศ. 2478 จึงมีกฎหมายให้ชายมีภรรยาได้เพียงคนเดียว สำหรับบทบาทด้านการเมือง สตรีสมัยอยุธยามีบทบาททางการเมืองอยู่ไม่มากก็น้อย ซึ่งพงศาวดารอยุธยาเน้นว่าการเข้าสู่อำนาจของสตรีนำมาซึ่งความเสื่อมเสียและความยุ่งยาก ดังเช่นกรณีท้าวศรีสุดาจันทร์ สตรียังถูกใช้เป็นเครื่องมือแห่งอำนาจ คือ การแต่งงานเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง เป็นตัวประกัน และเป็นบำเหน็จในราชการสงคราม นอกจากนี้ ยังมีตำนานว่า สมเด็จพระศรีสุริโยทัยและท้าวสุรนารีเป็นวีรสตรีผู้สร้างวีรกรรมในประวัติศาสตร์ สตรีเริ่มมีบทบาททางเศรษฐกิจและสังคมยิ่งขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยสตรี